ให้ผู้เรียนแสดงความเห็น
1. จุดเด่นจุดด้อยและข้อเสนอแนะในการใช้ (เว็บล็อก)Weblogหรือบล็อก(Blog) Blogspot.com
2. เปรียบเทียบ Blogspot.com กับ Blog Go to Know เป็นข้อ ๆ
3. ให้นักศึกษาทำWebLinK ของ Web GOTOKNOW ของนักเรียนลง บนฺบล็อก Blogspot.com
ข้อดีของ blog
1. เป็นสื่อที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น ของผู้เขียนเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เพื่อเสนอให้ผู้คน ได้รับรู้
2.เป็นเครื่องมือช่วยในด้านธุรกิจ เช่น การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การเสนอข่าวสาร
3.เป็นแหล่งความรู้ใหม่ๆ ที่ถูกต้องและชัดเจน จากผู้มีความรู้เฉพาะด้านๆ จากผู้เขียน Blog จะเขียนถึงเรื่องที่ ชอบ และมีความรู้ลึกในเรื่องนั้นๆ ซึ้งสามารถค้นหาข้อมูลเฉพาะด้านไดัใน Blog ต่างๆ จึ4.ทำให้เราค้นพบความรู้ จากผู้รู้ ผู้ชำนาญในด้านต่าง ๆ ได้รวดเร็วขึ้น
5.ทำให้ทันต่อเหตุการณ์ในปัจจุบัน เพราะข่าวสารความรู้ จะเปลี่ยนแปลงได้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบันเสมอ
ข้อด้อยของ blog
1. บล็อกมีอิสระในการนำเสนอ โดยไม่ต้องมีการตรวจสอบจากใครก่อน อาจโพสเรื่องที่ไม่เหมาะสม เข้าข่ายผิดกฎหมาย ผิดประเพณีและศีลธรรมอันดีได้ จึงต้องมีกติกาให้ตัวเอง
2. ผู้ให้บริการบล็อก ไม่สามารถกลั่นกรองเนื้อหาได้ 100% ต้องให้มีการตรวจทานก่อนเผยแพร่ อาจมีความเสี่ยงเป็นผู้กระทำผิดกฎหมาย
3. ในทางปฏิบัติ ผู้ให้บริการบล็อก ไม่สามารถบังคับหรือกำหนดแนวทางให้บล็อกนำเสนอได้
4. เนื้อหาที่อยู่ในบล็อก หากไม่ใช่ผลงานวิจัย หรือ วิทยานิพนธ์ ที่ทำตามหลักวิชาการ หรือ ตัวบทกฎหมาย ก็อาจมีความน่าเชื่อถือน้อยถึงน้อยมาก
5.ความน่าเชื่อถือของข้อมูลขึ้นกับความน่าเชื่อถือของบล็อก มากกว่าตัวข้อมูลเอง หากเกิดความผิดพลาดใดๆ ผู้ที่นำข้อมูลไปใช้อ้างอิง อาจประสบปัญหาได้
ความแตกต่างระหว่าง blogspot และ gotokhow
- Gotokhow เมื่อบันทึกบทความแล้ว นอกจากข้อความจะปรากฏใน blog ตัวเองแล้วยังปรากฏใน blog กลางของ gotokhow ด้วย แต่ blogspot ข้อความจะปรากฏเฉพาะใน blog ตัวเองเท่านั้น
- Gotokhow มีผู้คอยดูแลระบบกลาง คอยสร้างความเข้าใจ สร้างแรงจูงใจ สร้างบรรยากาศและมิตรภาพที่งดงามให้แก่สมาชิก แต่ blogspot ไม่มีผู้คอยดูแลระบบ เจ้าของ blog เท่านั้นที่เป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการตรวจสอบและกลั่นกรอง
- Gotokhow มีการประเมินผลการเขียนบล็อก มีสถิติแสดงจำนวน มีการให้ “รางวัลสุดคะนึง” ประกาศเกียรติคุณแก่ผู้เขียนบล็อกประเภทต่างๆ ทำให้ผู้เขียนบล็อกเกิดกำลังใจ ซึ่งเป็นเหมือนพันธะสัญญาที่จะต้องพัฒนาการเขียนการคิดและการนำความรู้ไปปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น แต่ blogspot ไม่มีในส่วนนี้
- Gotokhow ไม่สามารถตกแต่ง blog ได้มาก ซึ่งแตกต่างจาก blogspot ซึ่งผู้เขียนสามารถตกแต่ง blog ได้หลากหลาย ทำให้สร้างแรงจูงใจในการทำ blog ได้มากกว่า gotokhow เช่น สามารถเปลี่ยนสกินได้มาก สามารถใส่คลิป เพลง ลูกเล่นต่างๆ ทำให้มีความน่าสนใจมาก ผู้เขียนเองก็สนุกกับการเขียน blog เปิดโอกาสให้เจ้าของ blog ได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ได้เต็มที
วันศุกร์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2553
ใบงานที่ 13
ใบงานที่ 13
ประสบการณ์จากการทัศนศึกษาดูงาน
โครงการพัฒนานักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
“นครศรีธรรมราช-ลาว” 17-22 มกราคม 2553
นักศึกษา ป.บัณฑิตสาขาบริหารการศึกษา พร้อมกัน ณ ศาลาประดู่หก อำเภอเมือง จ.นครศรีธรรมราช
เริ่มออกเดินทางเวลา08.00 น.
บรรยากาศระหว่างการเดินทางอบอวลไปด้วยเสียงเพลง มิตรภาพ รอยยิ้ม ความเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน พี่กับน้อง น้องกับพี่ เพื่อนกับเพื่อน ศิษย์กับครู ล้วนเกิดความรัก ความผูกพัน ความสมัครสมาน สามัคคี เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด นอกจากประสบการณ์ทางความรู้สึกที่ยากจะบรรยายเป็นตัวอักษรแล้ว ประสบการณ์ทางโลกทั้งในส่วนของงานทางด้านการศึกษา ประสบการณ์ด้านการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบข้างก็ยังเปี่ยมล้นไปด้วยคุณค่า ซึ่งพอจะสรุปสาระสำคัญได้ดังนี้
1.ประสบการณ์จากการศึกษาดูงานโรงเรียนอนุบาลหนองคาย
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศตั้งโรงเรียนอนุบาลหนองคาย เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2510 สังกัดกองการศึกษาพิเศษ กรมสามัญศึกษา เดิมตั้งอยู่ที่ ต.มีชัย อ.เมือง จ.หนองคาย มีเนื้อที่ 8 ไร่ เมื่อปี พ.ศ. 2530 ได้ย้ายออกมาตั้งอยู่บริเวณศูนย์ราชการเลขที่ 239
ม.1 บ้านดอนดู่ ต.หนองกอมเกาะ อ.เมือง จ.หนองคาย
การศึกษาดูงานโรงเรียนอนุบาลหนองคายครั้งนี้ ได้รับการต้อนรับอย่างดีจากผู้อำนวยการนายสัมฤทธิ์ เจริญดี และคณะครูที่มาต้อนรับ พวกเราได้รับความรู้ด้านต่างๆ จากโรงเรียนอนุบาลหนองคาย เนื่องจากโรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนที่เปี่ยมไปด้วยคุณภาพด้านต่างๆ คือ
1. โรงเรียนรางวัลพระราชทานระดับประถมศึกษา
2. โรงเรียนผู้นำการเปลี่ยนแปลง
3. โรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
4. โรงเรียนต้นแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย
5. โรงเรียนวิถีพุทธ
6. โรงเรียนส่งเสริมสุภาพ
7. โรงเรียนดีศรีหนองคาย
ซึ่งในการเข้าเยี่ยมชมในครั้งนี้ผู้บริหารได้มาต้อนรับและทำการบรรยายถึงยุทธวิธีการบริหารโรงเรียนให้ประสบความสำเร็จอย่างมีคุณภาพ
2.แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมบริบทของประเทศลาว
ประเทศลาวเป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งตั้งอยู่บนใจกลางของคาบสมุทรอินโดจีนลาวอยู่ในภูมิอากาศเขตร้อน มีลมมรสุมแต่ไม่มีลมพายุ สำหรับเขตภูเขาภาคเหนือ และ เขตเทือกเขา อากาศมีลักษณะกึ่งร้อนกึ่งหนาว อุณหภูมิสะสมเฉลี่ยประจำปีสูงถึง 15-30 องศาเซลเซียส สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีระบบการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้คำว่า ระบอบประชาธิปไตยประชาชน) โดยมีพรรคประชาชนปฏิวัติลาวเป็นองค์กรชี้นำประเทศ ซึ่งพรรคนี้เริ่มมีอำนาจสูงสุดตั้งแต่ลาวเริ่มปกครองในระบอบสังคมนิยมเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 ประธานประเทศ (ประธานาธิบดี) ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวคนปัจจุบัน ซึ่งมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี คือ พลโทจูมมะลี ไซยะสอน (ดำรงตำแหน่งเลขาธิการใหญ่คณะบริหารงานศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาวอีกตำแหน่งหนึ่ง) ส่วนนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคือนายบัวสอน บุบผาวัน
ประเทศลาวใช้ภาษาลาวเป็นภาษาราชการทั้งในส่วนของภาษาพูดและระบบการเขียน ส่วนในกลุ่มชาวลาวเทิงและชาวลาวสูงยังคงมีการใช้ภาษาประจำเผ่าของงตนควบคู่กับภาษาลาว ส่วนภาษาต่างประเทศอื่นที่มีการใช้ได้แก่ภาษาฝรั่งเศสซึ่งมีการใช้มาตั้งแต่สมัยอาณานิคม ปัจจุบันยังคงใช้ในวงราชการและการติดต่อค้าขายบ้าง อีกภาษาหนึ่งที่สำคัญคือภาษาอังกฤษซึ่งใช้ในการติดต่อกับต่างประเทศและการค้า ซึ่งนับวันการศึกษาภาษาอังกฤษก็ยิ่งจะขยายตัวมากขึ้นเรื่อยๆ
สำหรับอัตราการรู้หนังสือของลาวนั้น ประชากรเพศชายรู้หนังสือร้อยละ 67 หญิงร้อยละ 43 เมื่อคิดเฉลี่ยรวมทั้งสองเพศแล้วปรากฏว่าประเทศลาวมีอัตราประชากรที่รู้หนังสือ ร้อยละ 56
ชาวลาวส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติ (ร้อยละ 60 ของชาวลาวทั้งหมด) ควบคู่ไปกับลัทธินับถือผีบรรพบุรุษของชนชาติส่วนน้อยในแถบภูเขาสูง ส่วนชาวลาวที่นับถือศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามมีจำนวนที่ค่อนข้างน้อยมาก โดยศาสนาคริสต์ส่วนมากจะมีผู้นับถือเป็นกลุ่มชาวเวียดนามอพยพและชาวลาวเชื้อสายเวียดนาม ส่วนศาสนาอิสลามพบว่ามีการนับถือในหมู่ชนชาติส่วนน้อยจีนฮ่อที่อาศัยตามชายแดนด้านติดกับประเทศพม่า และมีชุมชนมุสลิมที่มีเชื้อสายเอเชียใต้ และจามในเวียงจันทน์การแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ อย่างหนึ่งของลาวคือผู้หญิงจะนุ่งผ้าซิ่น (ผ้าถุง) อาหารของคนลาว ลาวจะทานข้าวเหนียวเป็นหลัก อาหารที่เป็นเอกลักษณ์คือ แจ่ว ส้มตำ ไก่ย่าง เป็นต้น
ชีวิตของคนลาวมีส่วนคล้ายคลึงกับประเทศไทยมากแต่ความเจริญก้าวหน้ายังล้าหลังกว่าประเทศไทย คนลาวมีวิถีชีวิตที่ค่อนข้างเรียบง่ายและ คนลาวสามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
3.ดูงานหมู่บ้านงูจงอางได้อะไรบ้าง
ดูงานที่หมู่บ้านงูจงอาง ที่บ้านโคกสง่า ตำบลทรายมูล ได้ดูการแสดงคนกับงูจงอาจ เป็นการแสดงที่ค่อนข้างอันตรายคนที่ไม่มีประสบการณ์จะลองทำไม่ได้ วิถีชีวิตคนที่นั้นยังเป็นสังคมชนบทอยู่มาก มีการหาสมุนไพรมาขาย และได้รับการต้อนรับที่ดีจากชุมชนที่นั้น
4.ดูงานที่จังหวัดเพชรบุรีได้อะไรบ้าง
การศึกษาดูงานที่จังหวัดเพชรบุรี ณ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ได้ นั่งเรือชมทิวทัศน์รอบเขื่อนแก่งกระจานเข้าพักบ้านพักและร่วมรับประทานอาหารร่วมกันในตอนเย็นมีการทำกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ตลอดจนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
ประสบการณ์จากการทัศนศึกษาดูงาน
โครงการพัฒนานักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
“นครศรีธรรมราช-ลาว” 17-22 มกราคม 2553
นักศึกษา ป.บัณฑิตสาขาบริหารการศึกษา พร้อมกัน ณ ศาลาประดู่หก อำเภอเมือง จ.นครศรีธรรมราช
เริ่มออกเดินทางเวลา08.00 น.
บรรยากาศระหว่างการเดินทางอบอวลไปด้วยเสียงเพลง มิตรภาพ รอยยิ้ม ความเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน พี่กับน้อง น้องกับพี่ เพื่อนกับเพื่อน ศิษย์กับครู ล้วนเกิดความรัก ความผูกพัน ความสมัครสมาน สามัคคี เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด นอกจากประสบการณ์ทางความรู้สึกที่ยากจะบรรยายเป็นตัวอักษรแล้ว ประสบการณ์ทางโลกทั้งในส่วนของงานทางด้านการศึกษา ประสบการณ์ด้านการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบข้างก็ยังเปี่ยมล้นไปด้วยคุณค่า ซึ่งพอจะสรุปสาระสำคัญได้ดังนี้
1.ประสบการณ์จากการศึกษาดูงานโรงเรียนอนุบาลหนองคาย
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศตั้งโรงเรียนอนุบาลหนองคาย เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2510 สังกัดกองการศึกษาพิเศษ กรมสามัญศึกษา เดิมตั้งอยู่ที่ ต.มีชัย อ.เมือง จ.หนองคาย มีเนื้อที่ 8 ไร่ เมื่อปี พ.ศ. 2530 ได้ย้ายออกมาตั้งอยู่บริเวณศูนย์ราชการเลขที่ 239
ม.1 บ้านดอนดู่ ต.หนองกอมเกาะ อ.เมือง จ.หนองคาย
การศึกษาดูงานโรงเรียนอนุบาลหนองคายครั้งนี้ ได้รับการต้อนรับอย่างดีจากผู้อำนวยการนายสัมฤทธิ์ เจริญดี และคณะครูที่มาต้อนรับ พวกเราได้รับความรู้ด้านต่างๆ จากโรงเรียนอนุบาลหนองคาย เนื่องจากโรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนที่เปี่ยมไปด้วยคุณภาพด้านต่างๆ คือ
1. โรงเรียนรางวัลพระราชทานระดับประถมศึกษา
2. โรงเรียนผู้นำการเปลี่ยนแปลง
3. โรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
4. โรงเรียนต้นแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย
5. โรงเรียนวิถีพุทธ
6. โรงเรียนส่งเสริมสุภาพ
7. โรงเรียนดีศรีหนองคาย
ซึ่งในการเข้าเยี่ยมชมในครั้งนี้ผู้บริหารได้มาต้อนรับและทำการบรรยายถึงยุทธวิธีการบริหารโรงเรียนให้ประสบความสำเร็จอย่างมีคุณภาพ
2.แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมบริบทของประเทศลาว
ประเทศลาวเป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งตั้งอยู่บนใจกลางของคาบสมุทรอินโดจีนลาวอยู่ในภูมิอากาศเขตร้อน มีลมมรสุมแต่ไม่มีลมพายุ สำหรับเขตภูเขาภาคเหนือ และ เขตเทือกเขา อากาศมีลักษณะกึ่งร้อนกึ่งหนาว อุณหภูมิสะสมเฉลี่ยประจำปีสูงถึง 15-30 องศาเซลเซียส สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีระบบการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้คำว่า ระบอบประชาธิปไตยประชาชน) โดยมีพรรคประชาชนปฏิวัติลาวเป็นองค์กรชี้นำประเทศ ซึ่งพรรคนี้เริ่มมีอำนาจสูงสุดตั้งแต่ลาวเริ่มปกครองในระบอบสังคมนิยมเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 ประธานประเทศ (ประธานาธิบดี) ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวคนปัจจุบัน ซึ่งมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี คือ พลโทจูมมะลี ไซยะสอน (ดำรงตำแหน่งเลขาธิการใหญ่คณะบริหารงานศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาวอีกตำแหน่งหนึ่ง) ส่วนนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคือนายบัวสอน บุบผาวัน
ประเทศลาวใช้ภาษาลาวเป็นภาษาราชการทั้งในส่วนของภาษาพูดและระบบการเขียน ส่วนในกลุ่มชาวลาวเทิงและชาวลาวสูงยังคงมีการใช้ภาษาประจำเผ่าของงตนควบคู่กับภาษาลาว ส่วนภาษาต่างประเทศอื่นที่มีการใช้ได้แก่ภาษาฝรั่งเศสซึ่งมีการใช้มาตั้งแต่สมัยอาณานิคม ปัจจุบันยังคงใช้ในวงราชการและการติดต่อค้าขายบ้าง อีกภาษาหนึ่งที่สำคัญคือภาษาอังกฤษซึ่งใช้ในการติดต่อกับต่างประเทศและการค้า ซึ่งนับวันการศึกษาภาษาอังกฤษก็ยิ่งจะขยายตัวมากขึ้นเรื่อยๆ
สำหรับอัตราการรู้หนังสือของลาวนั้น ประชากรเพศชายรู้หนังสือร้อยละ 67 หญิงร้อยละ 43 เมื่อคิดเฉลี่ยรวมทั้งสองเพศแล้วปรากฏว่าประเทศลาวมีอัตราประชากรที่รู้หนังสือ ร้อยละ 56
ชาวลาวส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติ (ร้อยละ 60 ของชาวลาวทั้งหมด) ควบคู่ไปกับลัทธินับถือผีบรรพบุรุษของชนชาติส่วนน้อยในแถบภูเขาสูง ส่วนชาวลาวที่นับถือศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามมีจำนวนที่ค่อนข้างน้อยมาก โดยศาสนาคริสต์ส่วนมากจะมีผู้นับถือเป็นกลุ่มชาวเวียดนามอพยพและชาวลาวเชื้อสายเวียดนาม ส่วนศาสนาอิสลามพบว่ามีการนับถือในหมู่ชนชาติส่วนน้อยจีนฮ่อที่อาศัยตามชายแดนด้านติดกับประเทศพม่า และมีชุมชนมุสลิมที่มีเชื้อสายเอเชียใต้ และจามในเวียงจันทน์การแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ อย่างหนึ่งของลาวคือผู้หญิงจะนุ่งผ้าซิ่น (ผ้าถุง) อาหารของคนลาว ลาวจะทานข้าวเหนียวเป็นหลัก อาหารที่เป็นเอกลักษณ์คือ แจ่ว ส้มตำ ไก่ย่าง เป็นต้น
ชีวิตของคนลาวมีส่วนคล้ายคลึงกับประเทศไทยมากแต่ความเจริญก้าวหน้ายังล้าหลังกว่าประเทศไทย คนลาวมีวิถีชีวิตที่ค่อนข้างเรียบง่ายและ คนลาวสามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
3.ดูงานหมู่บ้านงูจงอางได้อะไรบ้าง
ดูงานที่หมู่บ้านงูจงอาง ที่บ้านโคกสง่า ตำบลทรายมูล ได้ดูการแสดงคนกับงูจงอาจ เป็นการแสดงที่ค่อนข้างอันตรายคนที่ไม่มีประสบการณ์จะลองทำไม่ได้ วิถีชีวิตคนที่นั้นยังเป็นสังคมชนบทอยู่มาก มีการหาสมุนไพรมาขาย และได้รับการต้อนรับที่ดีจากชุมชนที่นั้น
4.ดูงานที่จังหวัดเพชรบุรีได้อะไรบ้าง
การศึกษาดูงานที่จังหวัดเพชรบุรี ณ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ได้ นั่งเรือชมทิวทัศน์รอบเขื่อนแก่งกระจานเข้าพักบ้านพักและร่วมรับประทานอาหารร่วมกันในตอนเย็นมีการทำกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ตลอดจนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
ใบงานที่ 12
ให้ผู้เรียนสรุปการนำเสนอโปรแกรม SPSS OF WINDOWS ในวันเสาร์ที่ 26 ธันวาคม 2552
ตามที่นักศึกษาได้เรียนรู้ และเสนอแนะต้องการเรียนอะไรเพิ่มเติมให้เขียนบอกลงในWebboard
ของผู้เรียนด้วย
ใบงานที่ 12 การใช้โปรแกรม spss
ส่วนประกอบหลักของ
SPSS FOR WINDOWS
-Title Bar บอกชื่อไฟล์
-Menu Bar คำสั่งการทำงาน
-Cell Editor กำหนดค่าตัวแปร
-Cases ชุดของตัวแปร
-Variable กำหนดชื่อตัวแปร
-View Bar มีสองส่วน
--Variable View
สร้างและแก้ไขโครงสร้างตัวแปร
--Data View
เพิ่มและแก้ไขตัวแปร
-Status Bar แสดงสถานการณ์ทำงาน
เปิด SPSS Data Editor
File -> New -> Data
กำหนดชื่อและรายละเอียด
จากหน้าจอ Variable View
ป้อนข้อมูล Data View
บันทึกข้อมูล
File -> Save
การกำหนดชื่อและรายละเอียดตัวแปร
ที่หน้าจอ SPSS Data Editor เรียกหน้าจอ Variable View ทำได้ 2 วิธี
1. ดับเบิลคลิกตรงคอลัมน์ของบรรทัดแรก
2. คลิกแถบ Variable View ที่อยู่ด้านล่าง
เมื่อได้หน้าต่างของ Variable View
1. Name ชื่อตัวแปร ให้พิมพ์ตรงคอลัมน์ Name เช่น Sex
2. Type ประเภทของตัวแปร
เลือก Numeric Width=1 Decimal Places=0 คลิกปุ่ม OK
3. Label กำหนดข้อความขยายชื่อตัวแปร เพื่ออธิบายชื่อตัวแปรและแสดงออกทางผลลัพธ์
ให้พิมพ์ตรงคอลัมน์ Label เช่น เพศ
4. Values กำหนดคำอธิบายให้กับค่าตัวแปร
5. Missing กำหนดค่าที่ไม่นำไปวิเคราะห์ มี 2 แบบ
5.1 User Missing ผู้วิจัยเป็นผู้กำหนด เช่น 9, 99, 999, …
5.2 System Missing โปรแกรมจะกำหนดให้เอง
6. Column จำนวนความกว้างของคอลัมน์ คือจำนวนความกว้างมากสุดของ ค่าตัวแปร หรือ ชื่อตัวแปร หรือ label ตัวแปร
จากตัวอย่าง ชื่อตัวแปร และ label ตัวแปร มีความกว้างมากสุดเท่ากับ 3
ให้พิมพ์ 4 (ความกว้างมากสุดเท่ากับ 3 บวกเผื่อไว้ 1)
7. Align ให้แสดงค่าตัวแปร ชิดซ้าย กึ่งกลาง ชิดขวา
8. Measure ระดับการวัดของข้อมูล
7.1 Scale (Interval, Ratio)
7.2 Ordinal
7.3 Nominal
ให้กำหนดชื่อและรายละเอียดของตัวแปรให้ครบทุกตัว
การวิเคราะห์ข้อมูล
1. คลิกที่เมนู Analyze เลือก Descriptive Statistic และเลือก Frequencies
2. จากนั้นเราจะได้กรอบ Frequencies
กรอบ Frequencies ทางช่องซ้ายมือเป็นตัวแปรต่างๆ ที่ได้จากแบบสอบถาม ทางช่องขวามือจะเป็นส่วนเลือกตัวแปรเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล
3. เราจะเลือกตัวแปรโดยการคลิกที่ตัวแปรที่ต้องการวิเคราะห์ทางซ้ายมือ จากนั้นคลิกปุ่มเลือก(สามเหลี่ยมสีดำ)ตัวแปรที่ต้องการวิเคราะห์ก็จะตกไปอยู่ทางช่องขวามือ ในที่นี้ให้เลือกทั้งหมดทุกตัวแปร
4.คลิกปุ่ม Statistics แล้วจะได้กรอบ Frequencies Statistics
5. เลือกประเภทการวิเคราะห์ข้อมูล ในที่นี้เราจะวิเคราะห์ Central Tendency และ Dispersion โดยส่วน Central Tendency เลือก Mean, Median, Mode, Sum และส่วน Dispersion เลือก Std. deviation, Minimum, Maximum
เลือกเสร็จเรียบร้อยแล้วให้คลิกปุ่ม Continue
เมื่อคลิกปุ่ม Continue จะกลับมาที่กรอบ Frequencies Statistics
6. ต่อไปให้คลิกปุ่ม Charts จะได้กรอบ Frequencies Charts
ในส่วน Frequencies Charts นี้ท่านสามารถเลือก Chart Type ว่าต้องการเป็น Charts ชนิดใด ในที่นี้ให้เลือก Bar charts แล้วคลิก Continue
7. เมื่อคลิกปุ่ม Continue จะกลับมาที่กรอบ Frequencies Statisticsจากนั้นคลิกปุ่ม OK ก็เป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
ตามที่นักศึกษาได้เรียนรู้ และเสนอแนะต้องการเรียนอะไรเพิ่มเติมให้เขียนบอกลงในWebboard
ของผู้เรียนด้วย
ใบงานที่ 12 การใช้โปรแกรม spss
ส่วนประกอบหลักของ
SPSS FOR WINDOWS
-Title Bar บอกชื่อไฟล์
-Menu Bar คำสั่งการทำงาน
-Cell Editor กำหนดค่าตัวแปร
-Cases ชุดของตัวแปร
-Variable กำหนดชื่อตัวแปร
-View Bar มีสองส่วน
--Variable View
สร้างและแก้ไขโครงสร้างตัวแปร
--Data View
เพิ่มและแก้ไขตัวแปร
-Status Bar แสดงสถานการณ์ทำงาน
เปิด SPSS Data Editor
File -> New -> Data
กำหนดชื่อและรายละเอียด
จากหน้าจอ Variable View
ป้อนข้อมูล Data View
บันทึกข้อมูล
File -> Save
การกำหนดชื่อและรายละเอียดตัวแปร
ที่หน้าจอ SPSS Data Editor เรียกหน้าจอ Variable View ทำได้ 2 วิธี
1. ดับเบิลคลิกตรงคอลัมน์ของบรรทัดแรก
2. คลิกแถบ Variable View ที่อยู่ด้านล่าง
เมื่อได้หน้าต่างของ Variable View
1. Name ชื่อตัวแปร ให้พิมพ์ตรงคอลัมน์ Name เช่น Sex
2. Type ประเภทของตัวแปร
เลือก Numeric Width=1 Decimal Places=0 คลิกปุ่ม OK
3. Label กำหนดข้อความขยายชื่อตัวแปร เพื่ออธิบายชื่อตัวแปรและแสดงออกทางผลลัพธ์
ให้พิมพ์ตรงคอลัมน์ Label เช่น เพศ
4. Values กำหนดคำอธิบายให้กับค่าตัวแปร
5. Missing กำหนดค่าที่ไม่นำไปวิเคราะห์ มี 2 แบบ
5.1 User Missing ผู้วิจัยเป็นผู้กำหนด เช่น 9, 99, 999, …
5.2 System Missing โปรแกรมจะกำหนดให้เอง
6. Column จำนวนความกว้างของคอลัมน์ คือจำนวนความกว้างมากสุดของ ค่าตัวแปร หรือ ชื่อตัวแปร หรือ label ตัวแปร
จากตัวอย่าง ชื่อตัวแปร และ label ตัวแปร มีความกว้างมากสุดเท่ากับ 3
ให้พิมพ์ 4 (ความกว้างมากสุดเท่ากับ 3 บวกเผื่อไว้ 1)
7. Align ให้แสดงค่าตัวแปร ชิดซ้าย กึ่งกลาง ชิดขวา
8. Measure ระดับการวัดของข้อมูล
7.1 Scale (Interval, Ratio)
7.2 Ordinal
7.3 Nominal
ให้กำหนดชื่อและรายละเอียดของตัวแปรให้ครบทุกตัว
การวิเคราะห์ข้อมูล
1. คลิกที่เมนู Analyze เลือก Descriptive Statistic และเลือก Frequencies
2. จากนั้นเราจะได้กรอบ Frequencies
กรอบ Frequencies ทางช่องซ้ายมือเป็นตัวแปรต่างๆ ที่ได้จากแบบสอบถาม ทางช่องขวามือจะเป็นส่วนเลือกตัวแปรเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล
3. เราจะเลือกตัวแปรโดยการคลิกที่ตัวแปรที่ต้องการวิเคราะห์ทางซ้ายมือ จากนั้นคลิกปุ่มเลือก(สามเหลี่ยมสีดำ)ตัวแปรที่ต้องการวิเคราะห์ก็จะตกไปอยู่ทางช่องขวามือ ในที่นี้ให้เลือกทั้งหมดทุกตัวแปร
4.คลิกปุ่ม Statistics แล้วจะได้กรอบ Frequencies Statistics
5. เลือกประเภทการวิเคราะห์ข้อมูล ในที่นี้เราจะวิเคราะห์ Central Tendency และ Dispersion โดยส่วน Central Tendency เลือก Mean, Median, Mode, Sum และส่วน Dispersion เลือก Std. deviation, Minimum, Maximum
เลือกเสร็จเรียบร้อยแล้วให้คลิกปุ่ม Continue
เมื่อคลิกปุ่ม Continue จะกลับมาที่กรอบ Frequencies Statistics
6. ต่อไปให้คลิกปุ่ม Charts จะได้กรอบ Frequencies Charts
ในส่วน Frequencies Charts นี้ท่านสามารถเลือก Chart Type ว่าต้องการเป็น Charts ชนิดใด ในที่นี้ให้เลือก Bar charts แล้วคลิก Continue
7. เมื่อคลิกปุ่ม Continue จะกลับมาที่กรอบ Frequencies Statisticsจากนั้นคลิกปุ่ม OK ก็เป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
ใบงานที่ 11
ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผู้สอนลงในwebboard ของนักศึกษา แสดงความรู้สึกความคิดเห็นที่ได้เรียนกับอาจารย์ เพื่อจะได้นำข้อคิดเห็นไปปรับปรุงในการเรียนการสอนในโอกาสต่อไป
ท่านอาจารย์อภิชาติ มีความรู้ความสามารถมากทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา แต่ท่านอาจารย์ยังขาดความเข้าใจในด้านการรับรู้ของผู้เรียนเนื่องจากวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษาต้องใช้ทักษะการใช้งานเป็นประจำจึงจะมีความสามารถเรียนรู้ได้เร็ว แต่สถานภาพของนักศึกษาของแต่คนมีความแตกต่าง ดังนั้นความสามารถในการเรียนรู้ของแต่ละคนมีความแตกต่างกัน
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ท่านอาจารย์อภิชาติ มีความรู้ความสามารถมากทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา แต่ท่านอาจารย์ยังขาดความเข้าใจในด้านการรับรู้ของผู้เรียนเนื่องจากวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษาต้องใช้ทักษะการใช้งานเป็นประจำจึงจะมีความสามารถเรียนรู้ได้เร็ว แต่สถานภาพของนักศึกษาของแต่คนมีความแตกต่าง ดังนั้นความสามารถในการเรียนรู้ของแต่ละคนมีความแตกต่างกัน
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ใบงานที่ 10
ขอให้นักศึกษาเขียนประวัติตนเอง ดังนี้
ประวัติข้าพเจ้า นางเพชรฤทัย อกนิษฐ์
สถานที่เกิด จังหวัดสงขลา
บ้านเลขที่ 30/257 ตำบลปากนคร อำเภอ เมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
ระดับการศึกษา
อนุบาล ประถมศึกษา โรงเรียนวัฒนาศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดตรัง
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรและการการสอน เอกปฐมวัยศึกษา
การทำงาน สถานที่ทำงานครั้งแรก
1. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แผนกมัธยมศึกษา ครูผู้สอน
2. มหาวิทยาลัยรามคำแหง ภาควิชาโสตทัศนศึกษา เจ้าหน้าที่ห้องบันทึกเสียง
3. โรงเรียนแม่พระฟาติมา แผนกประถมศึกษา ครูผู้สอน
4. โบสถ์แม่พระฟาติมา แผนกอนุบาล ครูผู้สอน
5. โรงเรียนอำนวยศิลป์ แผนกอนุบาล ครูผู้สอน
6. โรงเรียนอนุบาลอกนิษฐ์ ผู้รับใบอนุญาต
7. โรงเรียนอนุบาลอุ่นจิต ผู้รับใบอนุญาต
8. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช วิทยากรและอาจารย์พิเศษ คณะครุศาสตร์ เอกการศึกษาปฐมวัย
ใส่รูปถ่ายลงใน Webborad ของนักศึกษาลงในใบงานที่ 10 ที่นักศึกษาเห็นว่า สวย/งาม หรือหล่อที่สุด
ประวัติข้าพเจ้า นางเพชรฤทัย อกนิษฐ์
สถานที่เกิด จังหวัดสงขลา
บ้านเลขที่ 30/257 ตำบลปากนคร อำเภอ เมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
ระดับการศึกษา
อนุบาล ประถมศึกษา โรงเรียนวัฒนาศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดตรัง
มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสมถวิล ราชดำริ กรุงเทพมหานคร
อุดมศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2527ศึกษาศาสตร์บัณฑิต เอกโสตทัศนศึกษา โทสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2538
ครุศาสตร์บัณฑิต เอกการศึกษาปฐมวัย
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2538ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรและการการสอน เอกปฐมวัยศึกษา
การทำงาน สถานที่ทำงานครั้งแรก
1. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แผนกมัธยมศึกษา ครูผู้สอน
2. มหาวิทยาลัยรามคำแหง ภาควิชาโสตทัศนศึกษา เจ้าหน้าที่ห้องบันทึกเสียง
3. โรงเรียนแม่พระฟาติมา แผนกประถมศึกษา ครูผู้สอน
4. โบสถ์แม่พระฟาติมา แผนกอนุบาล ครูผู้สอน
5. โรงเรียนอำนวยศิลป์ แผนกอนุบาล ครูผู้สอน
6. โรงเรียนอนุบาลอกนิษฐ์ ผู้รับใบอนุญาต
7. โรงเรียนอนุบาลอุ่นจิต ผู้รับใบอนุญาต
8. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช วิทยากรและอาจารย์พิเศษ คณะครุศาสตร์ เอกการศึกษาปฐมวัย
ใส่รูปถ่ายลงใน Webborad ของนักศึกษาลงในใบงานที่ 10 ที่นักศึกษาเห็นว่า สวย/งาม หรือหล่อที่สุด
วันอังคารที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ใบงานที่ 2
งานชิ้นที่ 2
ให้นักศึกษาศึกษาข้อมูลจากสถานศึกษาของนักศึกษาแล้วดำเนินการจัดลงในบล็อกของนักศึกษาดังนี้
ชื่อหน่วยงานที่นักศึกษาศึกษา โรงเรียนอนุบาลอุ่นจิต
สถานที่ตั้งของหน่วยงาน 30/257 หมู่บ้านราชพฤกษ์ 2ซอย 4 ถ.พัฒนาการคูขวาง ต.ปากนคร อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ ใช้สื่อICT เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและสนับสนุนการบริหาร
วิสัยทัศน์ของหน่วยงานท่าน/สถานศึกษาของท่านวิสัยทัศน์ (VISION)
โรงเรียนอนุบาลอุ่นจิต มุ่งเน้นการเรียนการสอน ที่เสริมสร้างศักยภาพของความเป็นมนุษย์ให้กับเด็ก ปลูกฝังให้เด็กรู้จักรักตัวเองและรักทุกสิ่ง เพื่อการพัฒนาและมองเห็นคุณค่าของสิ่งต่างๆ ซึ่งสามารถรักษาและนำสิ่งต่างๆมาใช้ให้เกิดประโยชน์ คุณค่าได้อย่างเหมาะสม
พันธกิจ (MISSION)
โรงเรียนอนุบาลอุ่นจิต มีพันธกิจในการจัดการศึกษา ๓ พันธกิจ ดังนี้
พันธกิจที่ ๑ การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี เก่ง สุข
พันธกิจที่ ๒ การพัฒนาครูและผู้บริหารให้จัดการเรียนการสอน มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
พันธกิจที่ ๓ การพัฒนาโรงเรียนให้มีระบบเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐาน การประเมินภายนอกในระดับดี
ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน/สถานศึกษาของท่าน..................................
บริบทของของหน่วยงาน/สถานศึกษาของท่าน...................................
โครงสร้างของหน่วย/สถานศึกษาของท่าน ประกอบด้วย 4 ฝ่าย
1.ฝ่ายบริหารงบประมาณ2.ฝ่ายบริหารบุคคล 3ฝ่ายบริหารวิชาการ 4.ฝ่ายบริหารทั่วไป
สภาพปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนาของหน่วยงาน/สถานศึกษาของท่าน บุคลากรทำการสอนไม่ตรงวิชาเอก
ให้นักศึกษาเขียนสรุปให้สั้นกระทัดรัดด้วยความคิดของตนเอง อ้างอิงเอกสารด้วย SAR โรงเรียนอนุบาลอุ่นจิต ปีการศึกษา 2551
ให้นักศึกษาศึกษาข้อมูลจากสถานศึกษาของนักศึกษาแล้วดำเนินการจัดลงในบล็อกของนักศึกษาดังนี้
ชื่อหน่วยงานที่นักศึกษาศึกษา โรงเรียนอนุบาลอุ่นจิต
สถานที่ตั้งของหน่วยงาน 30/257 หมู่บ้านราชพฤกษ์ 2ซอย 4 ถ.พัฒนาการคูขวาง ต.ปากนคร อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ ใช้สื่อICT เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและสนับสนุนการบริหาร
วิสัยทัศน์ของหน่วยงานท่าน/สถานศึกษาของท่านวิสัยทัศน์ (VISION)
โรงเรียนอนุบาลอุ่นจิต มุ่งเน้นการเรียนการสอน ที่เสริมสร้างศักยภาพของความเป็นมนุษย์ให้กับเด็ก ปลูกฝังให้เด็กรู้จักรักตัวเองและรักทุกสิ่ง เพื่อการพัฒนาและมองเห็นคุณค่าของสิ่งต่างๆ ซึ่งสามารถรักษาและนำสิ่งต่างๆมาใช้ให้เกิดประโยชน์ คุณค่าได้อย่างเหมาะสม
พันธกิจ (MISSION)
โรงเรียนอนุบาลอุ่นจิต มีพันธกิจในการจัดการศึกษา ๓ พันธกิจ ดังนี้
พันธกิจที่ ๑ การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี เก่ง สุข
พันธกิจที่ ๒ การพัฒนาครูและผู้บริหารให้จัดการเรียนการสอน มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
พันธกิจที่ ๓ การพัฒนาโรงเรียนให้มีระบบเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐาน การประเมินภายนอกในระดับดี
ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน/สถานศึกษาของท่าน..................................
บริบทของของหน่วยงาน/สถานศึกษาของท่าน...................................
โครงสร้างของหน่วย/สถานศึกษาของท่าน ประกอบด้วย 4 ฝ่าย
1.ฝ่ายบริหารงบประมาณ2.ฝ่ายบริหารบุคคล 3ฝ่ายบริหารวิชาการ 4.ฝ่ายบริหารทั่วไป
สภาพปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนาของหน่วยงาน/สถานศึกษาของท่าน บุคลากรทำการสอนไม่ตรงวิชาเอก
ให้นักศึกษาเขียนสรุปให้สั้นกระทัดรัดด้วยความคิดของตนเอง อ้างอิงเอกสารด้วย SAR โรงเรียนอนุบาลอุ่นจิต ปีการศึกษา 2551
ใบงานที่ 1
1. ความหมายและความสำคัญของการจัดการ
การจัดการ (Management) หมายถึง การร่วมมือร่วมแรงร่วมใจกันของกลุ่มบุคคล ในการดำเนินงานเพื่อให้ได้ผลออกมาตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ร่วมกันโดยมีลักษณะที่สำคัญ คือ
• มีเป้าหมาย (Goal) หรือวัตถุประสงค์ (Obiectives) ที่ตั้งไว้ร่วมกันอย่างชัดเจน
• มีทรัพยากรในการบริหาร (Resource) ซึ่งมีจำกัด
• มีการแบ่งงานกันทำ (Division) ตามความรู้ความสามารถ
การจัดการ (Management) มีความหมายเหมือนกันกับคำว่า การบริหาร แต่ลักษณะการสื่อ
ความหมายของคำนี้มีความแตกต่างกัน คือ
o การจัดการ มีความหมายเป็นการปฏิบัติงานหรือดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย นิยมใช้สำหรับการบริหารงานขององค์กรทางธุรกิจเอกชน
o การบริหาร สื่อความหมายว่าเป็นการบริหารระดับสูงที่เป็นระดับการกำหนดนโยบาย หรือวางแผน และมักนิยมใช้สำหรับการบริหารงานของราชการ
2.ความหมายนวัตกรรม
คำว่า "นวัตกรรม" หรือ นวกรรม มาจากคำภาษาอังกฤษว่า "Innovation" โดยคำว่า นวัตกรรม มีรูปศัพท์เดิมมาจากภาษาบาลี คือ นว+อตต+กรรม กล่าวคือ นว แปลว่า ใหม่ อัตต แปลว่า ตัวเอง และกรรม แปลว่า การกระทำ เมื่อรวมคำ นว มาสนธิกับ อัตต จึงเป็น นวัตต และ เมื่อรวมคำ นวัตต มาสมาส กับ กรรม จึงเป็นคำHughes (1971) อธิบายว่า นวัตกรรม เป็นการนำวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติหลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาเป็นขั้น ๆ แล้ว โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. การคิดค้น (invention)
2. การพัฒนา (Development)
3. นำไปปฏิบัติจริง ซึ่งมีความแตกต่างจากการปฏิบัติเดิมที่เคยปฏิบัติมา
Everette M. Rogers (1983) ได้ให้ความหมายของคำว่า นวัตกรรม (Innovation) ว่า นวัตกรรมคือ ความคิด การกระทำ หรือวัตถุใหม่ ๆ ซึ่งถูกรับรู้ว่าเป็นสิ่งใหม่ๆ ด้วยตัวบุคคลเแต่ละคนหรือหน่วยอื่น ๆ ของการว่า นวัตกรรม แปลตามรากศัพท์เดิมว่า การกระทำที่ใหม่ของตนเอง หรือ การกระทำของตนเองที่ใหม่
นวัตกรรมหมายถึงสิ่งใหม่ๆ ดังต่อไปนี้
1 สิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีผู้ใดเคยทำมาก่อนเลย
2 สิ่งใหม่ที่เคยทำมาแล้วในอดีตแต่ได้มีการรื้อฟื้นขึ้นมาใหม่
3 สิ่งใหม่ที่มีการพัฒนามาจากของเก่าที่มีอยู่เดิม
3. ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา
Good (1973 : 592) หมายถึง การนำหลักการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อการออกแบบและส่งเสริมระบบการเรียนการสอน โดยเน้นที่วัตถุประสงค์ทางการศึกษาที่สามารถวัดได้อย่างถูกต้องแน่นอน มีการยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียน มากกว่ายึดเนื้อหาวิชา มีการใช้การศึกษาเชิงปฏิบัติโดยผ่านการวิเคราะห์และการใช้โสตทัศนูปกรณ์ รวมถึงเทคนิค การสอนโดยใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ สื่อการสอนต่าง ๆ ในลักษณะของสื่อประสมและการศึกษา ด้วยตนเอง
วิจิตร ศรีสะอ้าน (2517 : 120 - 121)
เป็นการประยุกต์เอาเทคนิค วิธีการ แนวความคิด อุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ ๆ มาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาทางการศึกษา ทั้งในด้านการขยายงานและด้านการปรับปรุงคุณภาพของการเรียนการสอน
ในความหมายอย่างกว้าง ๆ แล้ว เทคโนโลยีการศึกษาจะเป็นคำซึ่งรวมถึงทรัพยากรใด ๆ ก็ตามที่ใช้ในการให้ การศึกษาแก่ผู้เรียน โดยอาจรวมถึงวิธีการ เครื่องมือหรือกระบวนการ จึงสรุปได้ว่า "เทคโนโลยีการศึกษา" เป็นคำที่ใช้หมายถึงการนำเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ในการเรียนการสอนให้เหมาะสมในแต่ละยุค
4. ความหมายของข้อมูล
ข้อมูล (data) ก็คือเหตุการณ์ที่ปรากฎขึ้นจากการทำงานหรือสภาพแวดล้อมที่เป็นอยู่ดังลักษณะของทรัพยากรข้อมูล ดังนี้
1. แบบฟอร์มต่าง ๆ
2. สมุดบัญชี สมุดบันทึกต่าง ๆ รวมถึงบัตรลงบันทึกการทำงาน
3. แฟ้มจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ
4. รายงานข้อสนเทศ รายงานงบดุล/บัญชีการเงินทั้งองค์กร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5. เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของส่วนราชการต่าง ๆ ในองค์กร
5. สารสนเทศ
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
6. ระบบสารสนเทศ (Information System )
หมายถึง ระบบที่มีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการรวบรวม จัดเก็บ หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ข้อมูลนั้นกลายเป็นสารสนเทศที่ดี สามารถนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็วและถูกต้อง
7. ระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษา เป็นการนำข้อมูลทางการศึกษาผ่านระบบสื่อสาร เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การรับข่าวสารข้อมูลทันสมัยได้รวดเร็วเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต
8.การสื่อสาร หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไป (ผู้ส่งสาร)ไปยังบุคคลอื่น(ผู้รับสาร)โดยผ่านสื่อต่างๆ
9. เครือข่าย (Network) เป็นรูปแบบทางสังคมที่เปิดโอกาสให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์การเพื่อการแลกเปลี่ยน การสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และการร่วมกันทำงานโดยมีฐานะเท่าเทียมกัน
10.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสาร ขอมูล และการสื่อสาร นับตั้งแตการสราง การนํามาวิเคราะหหรือประมวลผลการรับและสงขอมูล การจัดเก็บ และการนําไปใชงานใหม เทคโนโลยีเหลานี้ มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร ซึ่งประกอบดวยสวนอุปกรณ (hardware) สวนคําสั่ง (software) และสวนขอมูล (data) และระบบการสื่อสารตางๆ ไมวาจะเปนโทรศัพท์ ระบบสื่อสารขอมูล ดาวเทียม หรือเครื่องมือสื่อสารใดๆ ทั้งมีสายและไรสาย”
11. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา หมายถึง การนำ เอาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งประกอบด้วยเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์และเครือข่ายโทรคมนาคมที่เชื่อมต่อกัน สำ หรับใช้ในการส่งและรับข้อมูล และมัลติมีเดียเกี่ยวกับความรู้ โดยผ่านกระบวนการประมวลหรือจัดทำ ให้อยู่ในรูปแบบที่มีความหมายและความสะดวกมาใช้ประโยชน์สำ หรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้คนไทยสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
การจัดการ (Management) หมายถึง การร่วมมือร่วมแรงร่วมใจกันของกลุ่มบุคคล ในการดำเนินงานเพื่อให้ได้ผลออกมาตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ร่วมกันโดยมีลักษณะที่สำคัญ คือ
• มีเป้าหมาย (Goal) หรือวัตถุประสงค์ (Obiectives) ที่ตั้งไว้ร่วมกันอย่างชัดเจน
• มีทรัพยากรในการบริหาร (Resource) ซึ่งมีจำกัด
• มีการแบ่งงานกันทำ (Division) ตามความรู้ความสามารถ
การจัดการ (Management) มีความหมายเหมือนกันกับคำว่า การบริหาร แต่ลักษณะการสื่อ
ความหมายของคำนี้มีความแตกต่างกัน คือ
o การจัดการ มีความหมายเป็นการปฏิบัติงานหรือดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย นิยมใช้สำหรับการบริหารงานขององค์กรทางธุรกิจเอกชน
o การบริหาร สื่อความหมายว่าเป็นการบริหารระดับสูงที่เป็นระดับการกำหนดนโยบาย หรือวางแผน และมักนิยมใช้สำหรับการบริหารงานของราชการ
2.ความหมายนวัตกรรม
คำว่า "นวัตกรรม" หรือ นวกรรม มาจากคำภาษาอังกฤษว่า "Innovation" โดยคำว่า นวัตกรรม มีรูปศัพท์เดิมมาจากภาษาบาลี คือ นว+อตต+กรรม กล่าวคือ นว แปลว่า ใหม่ อัตต แปลว่า ตัวเอง และกรรม แปลว่า การกระทำ เมื่อรวมคำ นว มาสนธิกับ อัตต จึงเป็น นวัตต และ เมื่อรวมคำ นวัตต มาสมาส กับ กรรม จึงเป็นคำHughes (1971) อธิบายว่า นวัตกรรม เป็นการนำวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติหลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาเป็นขั้น ๆ แล้ว โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. การคิดค้น (invention)
2. การพัฒนา (Development)
3. นำไปปฏิบัติจริง ซึ่งมีความแตกต่างจากการปฏิบัติเดิมที่เคยปฏิบัติมา
Everette M. Rogers (1983) ได้ให้ความหมายของคำว่า นวัตกรรม (Innovation) ว่า นวัตกรรมคือ ความคิด การกระทำ หรือวัตถุใหม่ ๆ ซึ่งถูกรับรู้ว่าเป็นสิ่งใหม่ๆ ด้วยตัวบุคคลเแต่ละคนหรือหน่วยอื่น ๆ ของการว่า นวัตกรรม แปลตามรากศัพท์เดิมว่า การกระทำที่ใหม่ของตนเอง หรือ การกระทำของตนเองที่ใหม่
นวัตกรรมหมายถึงสิ่งใหม่ๆ ดังต่อไปนี้
1 สิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีผู้ใดเคยทำมาก่อนเลย
2 สิ่งใหม่ที่เคยทำมาแล้วในอดีตแต่ได้มีการรื้อฟื้นขึ้นมาใหม่
3 สิ่งใหม่ที่มีการพัฒนามาจากของเก่าที่มีอยู่เดิม
3. ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา
Good (1973 : 592) หมายถึง การนำหลักการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อการออกแบบและส่งเสริมระบบการเรียนการสอน โดยเน้นที่วัตถุประสงค์ทางการศึกษาที่สามารถวัดได้อย่างถูกต้องแน่นอน มีการยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียน มากกว่ายึดเนื้อหาวิชา มีการใช้การศึกษาเชิงปฏิบัติโดยผ่านการวิเคราะห์และการใช้โสตทัศนูปกรณ์ รวมถึงเทคนิค การสอนโดยใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ สื่อการสอนต่าง ๆ ในลักษณะของสื่อประสมและการศึกษา ด้วยตนเอง
วิจิตร ศรีสะอ้าน (2517 : 120 - 121)
เป็นการประยุกต์เอาเทคนิค วิธีการ แนวความคิด อุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ ๆ มาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาทางการศึกษา ทั้งในด้านการขยายงานและด้านการปรับปรุงคุณภาพของการเรียนการสอน
ในความหมายอย่างกว้าง ๆ แล้ว เทคโนโลยีการศึกษาจะเป็นคำซึ่งรวมถึงทรัพยากรใด ๆ ก็ตามที่ใช้ในการให้ การศึกษาแก่ผู้เรียน โดยอาจรวมถึงวิธีการ เครื่องมือหรือกระบวนการ จึงสรุปได้ว่า "เทคโนโลยีการศึกษา" เป็นคำที่ใช้หมายถึงการนำเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ในการเรียนการสอนให้เหมาะสมในแต่ละยุค
4. ความหมายของข้อมูล
ข้อมูล (data) ก็คือเหตุการณ์ที่ปรากฎขึ้นจากการทำงานหรือสภาพแวดล้อมที่เป็นอยู่ดังลักษณะของทรัพยากรข้อมูล ดังนี้
1. แบบฟอร์มต่าง ๆ
2. สมุดบัญชี สมุดบันทึกต่าง ๆ รวมถึงบัตรลงบันทึกการทำงาน
3. แฟ้มจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ
4. รายงานข้อสนเทศ รายงานงบดุล/บัญชีการเงินทั้งองค์กร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5. เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของส่วนราชการต่าง ๆ ในองค์กร
5. สารสนเทศ
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
6. ระบบสารสนเทศ (Information System )
หมายถึง ระบบที่มีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการรวบรวม จัดเก็บ หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ข้อมูลนั้นกลายเป็นสารสนเทศที่ดี สามารถนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็วและถูกต้อง
7. ระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษา เป็นการนำข้อมูลทางการศึกษาผ่านระบบสื่อสาร เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การรับข่าวสารข้อมูลทันสมัยได้รวดเร็วเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต
8.การสื่อสาร หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไป (ผู้ส่งสาร)ไปยังบุคคลอื่น(ผู้รับสาร)โดยผ่านสื่อต่างๆ
9. เครือข่าย (Network) เป็นรูปแบบทางสังคมที่เปิดโอกาสให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์การเพื่อการแลกเปลี่ยน การสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และการร่วมกันทำงานโดยมีฐานะเท่าเทียมกัน
10.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสาร ขอมูล และการสื่อสาร นับตั้งแตการสราง การนํามาวิเคราะหหรือประมวลผลการรับและสงขอมูล การจัดเก็บ และการนําไปใชงานใหม เทคโนโลยีเหลานี้ มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร ซึ่งประกอบดวยสวนอุปกรณ (hardware) สวนคําสั่ง (software) และสวนขอมูล (data) และระบบการสื่อสารตางๆ ไมวาจะเปนโทรศัพท์ ระบบสื่อสารขอมูล ดาวเทียม หรือเครื่องมือสื่อสารใดๆ ทั้งมีสายและไรสาย”
11. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา หมายถึง การนำ เอาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งประกอบด้วยเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์และเครือข่ายโทรคมนาคมที่เชื่อมต่อกัน สำ หรับใช้ในการส่งและรับข้อมูล และมัลติมีเดียเกี่ยวกับความรู้ โดยผ่านกระบวนการประมวลหรือจัดทำ ให้อยู่ในรูปแบบที่มีความหมายและความสะดวกมาใช้ประโยชน์สำ หรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้คนไทยสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)